ธรรมชาติบำบัดคืออะไร?? และทำอย่างไร?(Nature cure) ธรรมชาติบำบัดคืออะไรธรรมชาติบำบัด คือ ศิลปะแห่งการดำรงชีวิตธรรมชาติบำบัด คือ ศิลปะแห่งการเยียวยาร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ โดยอาศัยธรรมชาติ สีเขียวของต้นไม้ แสงแดด สายน้ำ สายลม และอาหารจาก
ธรรมชาติโดยการย้อนกลับไปสู่การใช้วิถีชีวิตแบบดั้งเดิมและอยู่ร่วมกับธรรมชาติ การเปลี่ยนมุมมองและการทำกิจกรรมให้ช้าลง เช่นการใช้ใบตอง การใช้มือเปิบข้าวซึ่งวิถีเช่นนี้เราจะสามารถกำหนดจิตให้อยู่กับปัจจุบันในการเคลื่อนไหวของร่างกาย
วิธีการธรรมชาติบำบัดเป็นวิธีการป้องกัน บรรเทาหรือรักษาโรค มีหลักการของดุลยภาพบำบัด โดยทำให้เกิดปฏิกิริยากับพลังการควบคุมของร่างกาย ความสามารถของสิ่งมีชีวิตที่จะปรับสมดุลเพื่อให้มีสุขภาพแข็งแรงเรียกว่า พลังการควบคุมร่างกาย (Self regulation power) วิธีการธรรมชาติบำบัดมักใช้ยาจากธรรมชาติ เช่น สมุนไพร น้ำ โภชนบำบัด เป็นต้น
วิธีวินิจฉัยโรคแบบพหุลักษณ์ เป็นการหาข้อมูลเกี่ยวกับภาวะของพลังการควบคุมของร่างกาย ในขณะที่วิธีวินิจฉัยปกติของการแพทย์ตะวันตกเป็นการหาข้อมูลเบื้องต้น เช่น ปริมาณโพแทสเซียมในเลือด จังหวะการเต้นของหัวใจ เป็นต้น วิธีวินิจฉัยโรคแบบพหุลักษณ์จะสะท้อนถึงปฏิกิริยาของร่างกายต่อสิ่งกระตุ้น ตัวอย่างเช่น ความเย็น ดังนั้นจึงให้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะการทำงานของร่างกาย การแพทย์แบบนี้เป็นการแพทย์ที่เห็นผู้ป่วยไม่ใช่อวัยวะหรือจิตใจที่ทำงานแยกส่วนกัน แต่มองผู้ป่วยเป็นผลความสัมพันธ์กันของร่างกาย จิตใจ วิญญาณ และสภาพแวดล้อม (state of health) ความเจ็บป่วยเป็นความผิดปกติ และเป็นสัญญาณที่ปรากฏในวิถีชีวิตของผู้ป่วยภายใต้เงื่อนไขหนึ่ง การรักษาจะต้องแก้ไขสิ่งที่ผิดปกติและหาสาเหตุ ตลอดจนความเข้าใจถึงลักษณะอาการไม่สบายนั้น
วิธีที่เรียกได้ว่าเป็นวิธีรักษาแบบธรรมชาติบำบัด ได้แก่
๑. ยาพื้นบ้าน (anthropological medicine)
๒. ยาแผนโบราณ (traditional medicine)
๓. ยาสมุนไพร (herbal medicine)
๔. วารีบำบัด หรือการบำบัดด้วยน้ำ (hydrotherapy)
๕. การออกกำลังกาย (physical therapy)
๖. โภชนบำบัด (nutritherapy)
๗. การอดอาหาร
๘. ประสาทบำบัด (neural therapy)
๙. การบำบัดด้วยธาตุทั้ง ๔ (elemental therapy) เช่น บำบัดด้วยแสงอาทิตย์ ด้วยสภาพดินฟ้าอากาศ (climate) เป็นต้น๑๐. การบำบัดด้วยการกระตุ้นให้เกิดไข้ (fever therapy)
๑๑. การฝังเข็ม
๑๒. ออกซิเจนบำบัด (oxygen therapy)
๑๓. ภูมิคุ้มกันบำบัด (immune therapy)
๑๔. โยคะ
๑๕. การทำสมาธิ (meditation)
หวังว่าคงพอจะเข้าใจคำว่า "ธรรมชาติบำบัด" นะคะ
ธรรมชาติโดยการย้อนกลับไปสู่การใช้วิถีชีวิตแบบดั้งเดิมและอยู่ร่วมกับธรรมชาติ การเปลี่ยนมุมมองและการทำกิจกรรมให้ช้าลง เช่นการใช้ใบตอง การใช้มือเปิบข้าวซึ่งวิถีเช่นนี้เราจะสามารถกำหนดจิตให้อยู่กับปัจจุบันในการเคลื่อนไหวของร่างกาย
เมื่อเราต้องย้อนเวลาเดินถอยหลังกลับไปเริ่มต้นการใช้วิถีชีวิตแบบตั้งเดิมในกาลก่อนน่าจะเป็นเรื่องที่ดีและหลีกเลี่ยงจากสารพิษทั้งหลายทั้งปวงเพื่อสุขภาพจิตและกายที่ดีรวมทั้งการเปลี่ยนวิธีคิดเปลี่ยนรูปแบบการดำเนินชีวิตให้ช้าลง คิดให้เป็น บวก การคิดบวกช่วยให้เรามีความสุข
ธรรมชาติบำบัด ไม่มีคำจำกัดความที่แน่นอนและเป็นหนึ่งเดียว เมื่อพูดถึงธรรมชาติบำบัด จะครอบคลุมถึงวิธีการรักษาแบบธรรมชาติบำบัด วิธีวินิจฉัยโรคแบบพหุลักษณ์ (holistic approach) และรวมถึงรูปแบบการอธิบายทางทฤษฎี วิธีการธรรมชาติบำบัดเป็นวิธีการป้องกัน บรรเทาหรือรักษาโรค มีหลักการของดุลยภาพบำบัด โดยทำให้เกิดปฏิกิริยากับพลังการควบคุมของร่างกาย ความสามารถของสิ่งมีชีวิตที่จะปรับสมดุลเพื่อให้มีสุขภาพแข็งแรงเรียกว่า พลังการควบคุมร่างกาย (Self regulation power) วิธีการธรรมชาติบำบัดมักใช้ยาจากธรรมชาติ เช่น สมุนไพร น้ำ โภชนบำบัด เป็นต้น
วิธีวินิจฉัยโรคแบบพหุลักษณ์ เป็นการหาข้อมูลเกี่ยวกับภาวะของพลังการควบคุมของร่างกาย ในขณะที่วิธีวินิจฉัยปกติของการแพทย์ตะวันตกเป็นการหาข้อมูลเบื้องต้น เช่น ปริมาณโพแทสเซียมในเลือด จังหวะการเต้นของหัวใจ เป็นต้น วิธีวินิจฉัยโรคแบบพหุลักษณ์จะสะท้อนถึงปฏิกิริยาของร่างกายต่อสิ่งกระตุ้น ตัวอย่างเช่น ความเย็น ดังนั้นจึงให้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะการทำงานของร่างกาย การแพทย์แบบนี้เป็นการแพทย์ที่เห็นผู้ป่วยไม่ใช่อวัยวะหรือจิตใจที่ทำงานแยกส่วนกัน แต่มองผู้ป่วยเป็นผลความสัมพันธ์กันของร่างกาย จิตใจ วิญญาณ และสภาพแวดล้อม (state of health) ความเจ็บป่วยเป็นความผิดปกติ และเป็นสัญญาณที่ปรากฏในวิถีชีวิตของผู้ป่วยภายใต้เงื่อนไขหนึ่ง การรักษาจะต้องแก้ไขสิ่งที่ผิดปกติและหาสาเหตุ ตลอดจนความเข้าใจถึงลักษณะอาการไม่สบายนั้น
วิธีที่เรียกได้ว่าเป็นวิธีรักษาแบบธรรมชาติบำบัด ได้แก่
๑. ยาพื้นบ้าน (anthropological medicine)
๒. ยาแผนโบราณ (traditional medicine)
๓. ยาสมุนไพร (herbal medicine)
๔. วารีบำบัด หรือการบำบัดด้วยน้ำ (hydrotherapy)
๕. การออกกำลังกาย (physical therapy)
๖. โภชนบำบัด (nutritherapy)
๗. การอดอาหาร
๘. ประสาทบำบัด (neural therapy)
๙. การบำบัดด้วยธาตุทั้ง ๔ (elemental therapy) เช่น บำบัดด้วยแสงอาทิตย์ ด้วยสภาพดินฟ้าอากาศ (climate) เป็นต้น๑๐. การบำบัดด้วยการกระตุ้นให้เกิดไข้ (fever therapy)
๑๑. การฝังเข็ม
๑๒. ออกซิเจนบำบัด (oxygen therapy)
๑๓. ภูมิคุ้มกันบำบัด (immune therapy)
๑๔. โยคะ
๑๕. การทำสมาธิ (meditation)
หวังว่าคงพอจะเข้าใจคำว่า "ธรรมชาติบำบัด" นะคะ
การบำบัดด้วยสมุนไพร ซึ่งก็เป็นวิธีหนึ่งที่บำบัดได้
การนำสมุนไพรไทยมาใช้ประโยชน์ร่วมกับการทำอาหารไทยและช่วยบำบัดทางโภชนาการอาหาร
นำภูมิปัญญาด้านสมุนไพรมาศึกษา โดยการใช้กับพื้นที่โดยสามารถตอบสนองความ
ต้องการของกลุ่มคนทำงานได้ทั้งร่างกายและจิตใจ1.สมุนไพรประเภท ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด หัวแดง พริกไทย ชะเอม กระวาน กานพลู ดีปลี ซึ่งพืชเหล่านี้มีส่วนร่วมในการช่วยปรับสมดุลของร่างกายและ
การดำเนินชีวิตอันสอดคล้องกับธรรมชาติ
1.2
สิ่งแวดล้อมใกล้ตัวเป็นปัจจัยเกื้อหนุนในกระบวนการรักษา เช่น อาหาร อากาศ แสงแดด โคลน น้ำ
เป็นต้น ตั้งอยู่บนหลักการว่า กายและจิตอยู่ในสภาวะสมดุลมีศักยภาพและพลังในการจัดการโรคได้ทุกชนิด
ได้แก่ ดิน น้ำ ลม ไฟ และปราณมีความสมดุล อันนำไปสู่ร่างกายและจิตใจและความคิดที่เป็นบวกมากยิ่งขึ้น
2. กระบวนการรักษาตามวิธีธรรมชาติบำบัด คือ การจัดระบบความเป็นอยู่ให้
สอดคล้องกับธรรมชาติ ช่วยเกื้อหนุนให้พลังตามธรรมชาติของกายและจิตได้ดูแลตนเองด้วยวิธีการ
ต่างๆ เช่น การปรับเปลี่ยนอาหาร การอดอาหาร การสวนทวาร การล้างพิษ การอาบแดด การนวด
เป็นต้น เพื่อให้ธาตุทั้ง 4 แข็งแรงขึ้น
แม้ว่าหลักธรรมชาติบำบัดจะมีหลายตำรับแต่โดยรวมจะมีความคล้ายคลึงกัน
(naturopathy) ใช้ทฤษฎีของธรรมชาติ เพราะมนุษย์ที่ถูกต้องควรใช้สมุนไพรกับการบำบัด
ธรรมชาติบำบัด
ปรับตัวให้เข้ากับธรรมชาติแต่ในปัจจุบันมนุษย์พัฒนาวิถีชีวิตห่างออกไปจากธรรมชาติ มีการปรุง
แต่งมากมาย ทั้งการรับประทาน ที่อยู่อาศัย วิถีชีวิต ถ้าหากเราปรับตัวให้เข้ากับธรรมชาติ พยายามอยู่
กับอากาศบริสุทธิ์ อาหารดี แสงแดด การสุขอนามัยส่วนบุคคลดี น้ำบริสุทธิ์ ออกกำลังกายพอเหมาะ
และพักผ่อนพอเพียง ลดความตึงเครียด จากสิ่งแวดล้อมภายนอก และฝึกจิตให้นิ่ง จะเปิดโอกาสให้
เกิดความสมดุลทางธรรมชาติ ทำให้ระบบประสาท ระบบภูมิคุ้มกัน ระบบฮอร์โมนต่าง ๆ เป็นปกติ
วิธีการนี้มุ่งไปทางการป้องกันโรคมากกว่าการรักษา
(Medicinal Plant หรือ Herb) กำเนิดจากธรรมชาติและมีความหมายต่อ.ศ. 2510 ได้ระบุว่า " ยาสมุนไพร หมายความว่า" สมุนไพรนับเป็น
สมุนไพร
ชีวิตมนุษย์โดย เฉพาะในมิติทางสุขภาพ อันหมายถึงทั้งการส่งเสริมสุขภาพ และการรักษาโรค
ความหมายของยาสมุนไพร ในพระราชบัญญัติยา พ
ยาที่ได้จากพฤกษาชาติ สัตว์ หรือแร่ธาตุ ซึ่งมิได้ผสมปรุง หรือ แปรสภาพ
เทคโนโลยีพื้นบ้านที่สำคัญ ประการหนึ่งในการดูแลรักษา สุขภาพ
สมุนไพรสำหรับงาน สาธารณสุขมูลฐานส่วนใหญ่เป็นพืชสมุนไพร พืชหรือต้นไม้มี
องค์ประกอบ สำคัญ
โครงสร้าง และบทบาท ต่อพืชที่แตกต่างกัน การนำสมุนไพรมาใช้เป็นยาต้องคำนึงถึงธรรมชาติของ
สมุนไพรแต่ละชนิด พันธุ์ สมุนไพร สภาวะแวดล้อม ในการปลูก ฤดูกาล และช่วงเวลาที่เก็บ
สมุนไพร นับเป็นปัจจัยสำคัญที่กำหนดคุณภาพของสมุนไพร
ส่วนสมุนไพรเป็นพืชอีกกลุ่มหนึ่ง ซึ่งมีการปลูกใช้ประโยชน์มานานแล้ว เพราะ
บางชนิดสามารถนำมารับประทานเป็นอาหาร ให้คุณค่าทางอาหารและยังให้รสชาติที่ทำให้เจริญอาหารมากขึ้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น